LATEST ARTICLES

เมื่อไม่นานมานี้ มีประเด็นที่กลายเป็นกระแสเกี่ยวกับอาหารไขมันสูงที่ส่งผลเสียต่อสุขภาพ ซึ่งก่อให้เกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ โรคอ้วน และโรคมะเร็งบางชนิด โดยองค์การอนามัยโลก (World Health Organization; WHO)

กลูเตนเป็นโปรตีนชนิดหนึ่งที่มักพบอยู่ในข้าวสาลีและธัญพืชหลากหลายชนิด ซึ่งการบริโภคกลูเตนนั้นไม่เป็นอันตรายต่อคนทั่วไป แต่จำเป็นต้องหลีกเลี่ยงสำหรับผู้ที่แพ้กลูเตนรวมถึงผู้ป่วยโรคเซลิแอค

หากเอ่ยถึง ซาวโดวจ์ (sourdough) สำหรับวงการเบเกอรีในปัจจุบันมักจะนึกถึง sourdough bread หรือขนมปังที่ทำมาจากกล้าเชื้อธรรมชาติ ซึ่งผู้ผลิตจะต้องทำการบ่มหรือเลี้ยงเชื้อในโดวจ์ที่มีแป้งและน้ำเป็นองค์ประกอบหลัก

แนวโน้มเทคโนโลยี HPP ในปัจจุบันจะเน้นไปที่การแปรรูปผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ที่ยังไม่ผ่านการปรุงสุกเพื่อปรับปรุงคุณสมบัติทางด้านเนื้อสัมผัส โดยเฉพาะเนื้อสัตว์หมักพร้อมปรุง (Marinated Meat)

ViscoQuick® จาก Brabender® โซลูชันสำหรับวิเคราะห์คุณภาพอาหารแพลนท์เบส ไม่ว่าจะเป็นการทดสอบค่าความข้นหนืด ลักษณะการไหล เพื่อประสิทธิภาพในการแปรรูปอาหารด้วยกระบวนการเอ็กซ์ทรูชัน

ประเภทของแป้งสาลี และเครื่องมือที่ใช้ในการวัดเนื้อสัมผัสในผลิตภัณฑ์เบเกอรี พร้อมสำรวจคุณสมบัติในการอบที่แตกต่างกันของแป้งสาลีและแป้งปราศจากกลูเตน

บรรจุภัณฑ์อาหารมีความสำคัญและเกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันของผู้บริโภคเป็นอย่างมาก เนื่องจากช่วยเพิ่มความสะดวกในการบริโภคและป้องกันการปนเปื้อนของอาหารจากสิ่งแวดล้อม แต่บางครั้งบรรจุภัณฑ์ก็อาจเป็นสาเหตุของการปนเปื้อนไปสู่อาหารได้เช่นกัน

จากการวิเคราะห์สถานการณ์ของอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์และสัตว์ปีกของปีที่ผ่านมา พบว่าเนื้อหมู เนื้อไก่ และเนื้อโคยังคงเป็นเนื้อสัตว์หลักที่มีการผลิตทั่วโลก โดยภาพรวมของอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์และสัตว์ปีกในปี พ.ศ. 2567

ปัจจุบันข้อกำหนดทางด้านมาตรฐานการผลิตและส่งออกผลิตภัณฑ์อาหารประเภทเนื้อสัตว์และสัตว์ปีกมีความเข้มงวดมากขึ้น

การเก็บตัวอย่างบนพื้นผิวด้วยวิธีการสวอปแบบปลอดเชื้อเป็นวิธีการเก็บตัวอย่างในบริเวณที่เข้าถึงง่าย เช่น สายพาน อุปกรณ์ เครื่องจักร และมือพนักงาน เป็นต้น

งานวิจัยที่นำแป้งจากแมลงมาประยุกต์ใช้ในผลิตภัณฑ์เบเกอรี เมื่อไม่นานมานี้มีงานวิจัยในหัวข้อ "การใช้แป้งจากแมลงที่บริโภคได้เพื่อเพิ่มคุณประโยชน์ของผลิตภัณฑ์เบเกอรี – การทบทวนคุณค่าทางโภชนาการ ลักษณะทางกายภาพ และการยอมรับของผู้บริโภค

เม็ดเคี้ยว (Chewable tablet) เป็นผลิตภัณฑ์รูปแบบหนึ่งที่นำมาใช้ในทางโภชนเภสัชเพื่อนำส่งสารสำคัญเข้าสู่ร่างกาย โดยสารสำคัญของผลิตภัณฑ์เม็ดเคี้ยวเพื่อสุขภาพนั้นมักเป็นสารที่อยู่ในอาหารจำพวกพืช ผัก ผลไม้ สมุนไพร และผลิตภัณฑ์จากสัตว์หรือจุลินทรีย์

ในปี พ.ศ. 2566 ที่ผ่านมา ตลาดเค้กและผลิตภัณฑ์ขนมอบมีมูลค่าสูงถึง 141.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งคาดการณ์ว่าในช่วงปี พ.ศ. 2567- 2575 จะเติบโตเพิ่มขึ้นด้วยอัตราเฉลี่ยร้อยละ 3.4 ต่อปี

ไม่ว่าอุตสาหกรรมอาหารจะมีความก้าวหน้าไปสู่ทิศทางใด ความปลอดภัยด้านอาหารและสุขอนามัยก็ยังคงเป็นปัจจัยที่สำคัญต่ออุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม เช่นเดียวกันกับ บริษัท อินเตอร์โรล (ประเทศไทย) จำกัด

ปัจจุบันอุตสาหกรรมอาหารต้องการส่วนผสมที่เหมาะสำหรับกระบวนการผลิตเพื่อช่วยพัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑ์อาหารในทุกๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นการเพิ่มคุณภาพทางประสาทสัมผัสหรือการเสริมฤทธิ์ทางชีวภาพ

ในการออกแบบตามหลักสุขอนามัยเพื่อประสิทธิภาพในการทำความสะอาดแบบ CIP จะเน้นไปยังกระบวนการผลิตที่เป็นระบบปิดหรือระบบการผลิตอาหารเหลว โดยอุปกรณ์หลัก ประกอบด้วย ถัง ท่อ ปั๊ม วาล์ว อุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อน เครื่องฆ่าเชื้อ และเครื่องบรรจุ ซึ่งการออกแบบจะมี 2 ระดับ

แนวโน้มของอุปกรณ์และเครื่องจักรสำหรับธุรกิจโรงแรมและร้านอาหารในปี พ.ศ. 2567 นี้ ได้เปลี่ยนผ่านไปสู่ระบบดิจิทัลและระบบอัตโนมัติสำหรับการใช้งานที่หลากหลายมากขึ้น เนื่องจากเทคโนโลยีเหล่านี้จะเข้ามาช่วยอำนวยความสะดวก เพิ่มความคล่องตัวในการปฏิบัติงาน ปรับเปลี่ยนประสบการณ์ของลูกค้า

บรรจุภัณฑ์สำหรับผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์โดยเฉพาะเนื้อสดมีปัจจัยสำคัญที่จำเป็นต้องคำนึงถึง คือ การเปลี่ยนสีของเนื้อตามปฏิกิริยาออกซิเดชัน (Oxidation) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการมีอยู่ของก๊าซออกซิเจนที่จะต้องทำความเข้าใจถึงกลไกการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว

  โลกมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการออกกำลังกาย การเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ และการมองหาผลิตภัณฑ์เสริมอาหารหรือเครื่องดื่มที่ดีต่อสุขภาพเพื่อเน้นประโยชน์ในการป้องกันโรคมากกว่าการรักษา

ในกลุ่มผลิตภัณฑ์ดูแลสุขภาพทางเดินอาหาร เปปไทด์เป็นส่วนผสมสำคัญที่ถูกนำมาใช้กันอย่างแพร่หลายทั้งแบบตั้งใจและไม่ได้ตั้งใจ โดยแบคทีเรียโพรไบโอติกส์หลายสายพันธุ์ได้ผ่านการศึกษาและระบุออกมาแล้วว่าเป็นแหล่งสร้างเปปไทด์ที่ออกฤทธิ์ทางชีวภาพ (Bioactive peptides)

การวิเคราะห์ตลาดร้านกาแฟแบบพิเศษ คาดการณ์ว่าปี พ.ศ. 2566-2570 ขนาดตลาดร้านกาแฟแบบพิเศษจะมีอัตราการเติบโตเฉลี่ยต่อปีอยู่ที่ร้อยละ 7.43 และมูลค่าตลาดจะเพิ่มขึ้นประมาณ 39.17 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ

ด้วยคุณสมบัติทั้ง 4 ข้อข้างต้น สามารถกล่าวได้ว่า แม้พลาสติกจะก่อให้เกิดปัญหาต่อสภาพแวดล้อมอย่างเห็นได้ชัดในปัจจุบันจนมีข้อคิดเห็นบางส่วนว่าควรเลิกใช้พลาสติก แต่ในความเป็นจริงแล้วเราจะสามารถยกเลิกการใช้งานพลาสติกได้ก็ต่อเมื่อสามารถหาวัสดุทดแทนที่มีคุณสมบัติในการใช้งานครบทั้ง 4 ข้อได้

1. ขมิ้นชัน (Turmeric) ในปัจจุบันขมิ้นชันถูกนำมาใช้ในผลิตภัณฑ์อาหารหลากหลายรูปแบบ อาทิ การนำเหง้าสดไปใช้ในการประกอบอาหาร แต่งสี และแต่งกลิ่นอาหาร 2. ฟ้าทะลายโจร (Andrographis paniculata) ในปัจจุบันฟ้าทะลายโจรส่วนใหญ่มักถูกนำมาใช้ในการแปรรูปเป็นผงหรือนำมาสกัดเป็นสารสำคัญเพื่อบรรจุเป็นแคปซูลในรูปแบบผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร 3. หญ้าหวาน (Stevia) ปัจจุบันมีการนำหญ้าหวานมาใช้ในการบริโภคทั้งหมด 5 รูปแบบ ได้แก่ ใบอบแห้ง ใบแห้งบดสำหรับชงแบบสำเร็จรูป (ชาหญ้าหวาน) ใบสด ใบแห้งบดสำหรับใช้แทนน้ำตาล (หญ้าหวานผง) และสารสกัดจากหญ้าหวาน 4. เห็ดขี้ควาย (Magic mushroom) ในปัจจุบันเริ่มมีงานวิจัยที่นำเห็ดขี้ควายมาใช้ในการรักษาโรคหดหู่ ซึมเศร้า

สภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และสถาบันอาหารได้ร่วมกันประเมินและวิเคราะห์ภาพรวมสถานการณ์การส่งออกสินค้าอาหารของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2566 ว่ามีมูลค่าราว 1.5 ล้านล้านบาท และขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.1

ครัวกลาง (Central kitchen) เป็นสถานที่จัดเตรียมวัตถุดิบอาหาร ตลอดจนการบรรจุเพื่อกระจายสินค้าไปยังสถานที่ต่างๆ เช่น ร้านอาหาร โรงอาหาร

นอกเหนือจากการป้องกันโรคแล้ว อาหารฟังก์ชันยังช่วยลดผลกระทบที่เกิดจากเซลล์เสื่อมชราได้ จากการเพิ่มขึ้นของประชากรสูงวัยทั่วโลก จึงส่งผลให้ผู้บริโภคหันมาดูแลสุขภาพและคุณภาพชีวิตกันมากขึ้น ซึ่งอาหารฟังก์ชันได้เข้ามามีบทบาทสำคัญในการจัดการหรือช่วยชะลอความเสื่อมชรา โดยเซลล์ซอมบี้ หรือที่รู้จักในทางวิทยาศาสตร์ว่าเซลล์แก่ (Senescent cells) เซลล์ชนิดนี้จะหยุดการแบ่งตัวโดยไม่เข้าสู่วงจรการตายแบบปกติ (Apoptosis)

แนวโน้มอาหารและเครื่องดื่มเชิงฟังก์ชันในปี พ.ศ. 2567 นี้ แสดงให้เห็นถึงความหลากหลายของทางเลือกใหม่เพื่อสุขภาพที่ดีกว่าทั้งในมุมมองของผู้ผลิตอาหารและผู้บริโภค โดยส่วนใหญ่จะมุ่งเน้นไปยังอาหารที่ช่วยส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวม ช่วยเยียวยาจิตใจ ลดความเครียด และสร้างประสบการณ์ใหม่แบบที่ยังไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน

เพื่อให้การอนุญาตและพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ได้จากเมล็ดโกโก้ มีคุณภาพและความปลอดภัยบนพื้นฐานการคุ้มครองผู้บริโภค กระทรวงสาธารณสุข โดยสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาจึงได้จัดทำประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 442) พ.ศ. 2566 ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 เรื่อง ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากเมล็ดโกโก้ ลงวันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2566

Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่  and